หน้าแรก สมาชิก รายการวัตถุมงคล ตะกร้าวัตถุมงคล วิธีชำระวัตถุมงคล วิธีบูชาวัตถุมงคล ประวัติวัด ติดต่อวัด เว็บบอร์ด
สมาชิก Log in
อีเมล์
รหัสผ่าน
สมัครสมาชิกใหม่
ลืมรหัสผ่าน
















ค้นหาวัตถุมงคล
 
 
 
หมวดวัตถุมงคล
  เครื่องราง พระอาจารย์ป้อม
  พระเครื่อง พระอาจารย์ป้อม
  พระเครื่อง หลวงพ่อสวัสดิ์
  พระเครื่อง หลวงปู่พิมพ์มาลัย
  พระเครื่อง หลวงพ่อสง่า
วัตถุมงคลของคุณ
รหัสวัตถุมงคล ราคา จำนวน
ยังไม่มีวัตถุมงคลอยู่ในตะกร้า
  • ชำระค่าวัตถุมงคล
  • แก้ไขรายการวัตถุมงคล
  • วิธีสั่งบูชาวัตถุมงคล
  •  

    พงศาวดารมอญพม่า
    พงศาวดารมอญพม่า
    เรื่องพระราชพงศาวดารพม่ามอญนี้ เดิมพระบาทสมเด็จพระจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว มีพระบรมราชโองการดำรัสสั่ง ขุนสมุทรโวหารในกรมพระอาลักษณ์ และขุนอักษรรามัญ นายขำเปรียญ นายสุดเปรียญ นายจุ รวมสี่นาย
    พงศาวดารเขมร
    พงศาวดารเขมร
    เมื่อปี จ.ศ. ๑๒๓๑ พระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าเจ้าอยู่หัว มีพระบรมราชโองการ ดำรัสสั่งพระเจ้าราชวรวงษ์เธอ กรมหมื่นอักษรสาสนโสภณ จางวางกรมพระอาลักษณ์ และกรมอักษรพิมพ์ ให้จัดหาหนังสือ
    ประชุมพงศาวดาร 4
    ประชุมพงศาวดาร 4
    จากหนังสือพระราชพงศาวดารฉบับหลวงประเสริฐ ทำให้ทราบชัดว่า สมเด็จพระบรมไตรโลกนารถ เสด็จขึ้นไปเสวยราชสมบัติอยู่เมืองพิศณุโลกคราวหนึ่ง และได้ไปทรงผนวชที่วัดจุฬามณีเมืองพิศณุโลก
    ประชุมพงศาวดาร 3
    ประชุมพงศาวดาร 3
    พระราชพงศาวดารฉบับนี้ เดิมพระปริยัติธรรมธาดา (แพ เปรียญ) แต่ยังเป็นหลวงประเสริฐอักษรนิติ ไปพบต้นฉบับที่บ้านราษฎรแห่งหนึ่ง จึงขอมาให้แก่หอพระสมุดวชิรญาณ เมื่อปี พ.ศ.๒๔๕๐
    ประชุมพงศาวดาร 2
    ประชุมพงศาวดาร 2
    ฝ่ายพระเมกุฏิได้ยินข่าวดังกล่าวก็เกรงกลัว จึงยกเอาเมืองเชียงใหม่ไปถวายแก่เจ้าเมืองอังวะ เจ้าเมืองอังวะจึงยกทัพมาช่วยเมืองเชียงใหม่ เมื่อพระเจ้าไชยเสษฐา ฯ ทราบเรื่องเกรงว่าศึกจะยืดเยื้อเป็นสงครามใหญ่
    ประชุมพงศาวดาร  1
    ประชุมพงศาวดาร 1
    ที่จริง การศึกษาหาความรู้พงศาวดาร และตำนานเก่าย่อมถือว่าเป็นส่วนสำคัญอย่าง ๑ ใน การศึกษาทั่วทุกประเทศ ในสยามประเทศแต่โบราณมา ท่านผู้เป็นใหญ่ในแผ่นดินตั้งต้นแต่สมเด็จพระเจ้าอยู่หัว
    จอมทัพไทย
    จอมทัพไทย
    คำว่า พระมหากษัตริย์ หมายถึง นักรบผู้ยิ่งใหญ่ หรือจอมทัพ เพราะในประวัติศาสตร์ของมนุษยชาติ ชาติที่เข้มแข็งเท่านั้น จึงจะดำรงคงความเป็นชาติอยู่ได้ ชาติที่อ่อนแอ ก็จะตกไปเป็นผู้ที่อยู่ในครอบครองของชาติอื่น ความเข้มแข็งที่สำคัญยิ่ง
    เครื่องราชกกุธภัณฑ์
    เครื่องราชกกุธภัณฑ์
    เป็นเครื่องหมายแห่งความเป็นพระราชาธิบดี หรืออีกนัยหนึ่ง เป็นเครื่องประกอบพระบรมราชอิสริยยศของพระมหากษัตริย์ เมื่อประมวลได้ห้าชนิด ก็เรียกว่า เบญจราชกกุธภัณฑ์
    เครื่องดนตรีไทย 4
    เครื่องดนตรีไทย 4
    กลอง เป็นเครื่องดนตรีประเภทตี สำหรับใช้บอกสัญญาณ บอกจังหวะ และใช้ประกอบเครื่องดนตรีอื่น ๆ ตัวกลองเรียกว่า "หุ่น" ทำด้วยไม้ ข้างในเป็นโพรง หน้าขึงด้วยหนังมีทั้งหน้าเดียวและสองหน้า ที่เป็นหน้าเดียว
    เครื่องดนตรีไทย 3
    เครื่องดนตรีไทย 3
    ฆ้องมโหรี เป็นฆ้องวงที่ใช้บรรเลงในวงมโหรีโดยเฉพาะ มีอยู่สองขนาด คือฆ้องวงใหญ่มโหรีและฆ้องวงเล็กมโหรี ฆ้องวงใหญ่มโหรีเดิมมีลูกฆ้อง ๑๗ ลูก ต่อมานิยมใช้ ๑๘ ลูก
    เครื่องดนตรีไทย 2
    เครื่องดนตรีไทย 2
    เป็นเครื่องสายที่ทำให้เกิดเสียงด้วยการใช้คันชักสีเข้ากับสายในดนตรีไทยเรียกว่า ซอ ซึ่งมีอยู่ ๓ ชนิด ด้วยกัน คือ ซอสามสาย ซออู้ และซอด้วงที่เป็นเครื่องดนตรีพื้นบ้านได้แก่ สะล้อ สำหรับประเทศทางตะวันตก
    เครื่องดนตรีไทย 1
    เครื่องดนตรีไทย 1
    เครื่องดนตรี คือ เครื่องมือที่ทำให้เกิดเสียงเป็น ทำนองและใช้บรรเลงเป็นเพลงได้ เครื่องดนตรีแต่ละชนิด อาจมี ระดับเสียงที่ตายตัว หรือปรับเสียงได้ตามมาตรฐาน เสียงดนตรี นอกจากนั้นบรรดาเครื่องที่ให้เสียงสำหรับ กำกับจังหวะ
    หมากรุกไทย 13
    หมากรุกไทย 13
    1. ตำรากลหมากรุก ฉบับหอพระสมุดวชิรญาณ แต่งโดย เจ้าพระยาอภัยราชา มหายุติธรรมธร (ม.ร.ว. ลบ สุทัศน์ ณ กรุงเทพ) พิมพ์ครั้งแรก พ.ศ. 2465 2. ตำราหมากรุกไทย โดยซินแสเปาเจีย พิมพ์ครั้งแรก พ.ศ. 2467
    หมากรุกไทย 12
    หมากรุกไทย 12
    มุมการไล่ด้วยม้าคู่กับเบี้ยหงาย การไล่ด้วยม้าคู่กับโคนหนึ่งตัว การไล่ด้วยเรือเดี่ยว กลการไล่พลิกแพลง
    หมากรุกไทย 11
    หมากรุกไทย 11
    1. ม้าคำถูกล้อม เดินไปตาใดก็ถูกกิน ถ้าเดินเรือขาวไป B5 2. ขุนดำอยู่ตาอับ อย่าไล่ให้เข้าตานี้ เพราะจะทำให้เสมอกัน ก็จะไล่กินม้าได้ เป็นเบี้ยหงาย โคน ขุน ก็ได้

    มีต่อหน้า >> 1 2 3 4 5 6 7 8 9 10 11 12 13 14 15 16 17 18 19 20 21 22 23 24 25 26 27 28 29 30 31 32 33 34 35 36 37 38 39 40 41 42 43 44 45 46 47 48 49 50 51 52 53 54 55 56 57 58 59 60 61 62 63 64 65 66 67 68 69 70 71
    © Copyright 2011 www.watnongmuang.com All rights reserved 999arch