หน้าแรก สมาชิก รายการวัตถุมงคล ตะกร้าวัตถุมงคล วิธีชำระวัตถุมงคล วิธีบูชาวัตถุมงคล ประวัติวัด ติดต่อวัด เว็บบอร์ด
สมาชิก Log in
อีเมล์
รหัสผ่าน
สมัครสมาชิกใหม่
ลืมรหัสผ่าน
















ค้นหาวัตถุมงคล
 
 
 
หมวดวัตถุมงคล
  เครื่องราง พระอาจารย์ป้อม
  พระเครื่อง พระอาจารย์ป้อม
  พระเครื่อง หลวงพ่อสวัสดิ์
  พระเครื่อง หลวงปู่พิมพ์มาลัย
  พระเครื่อง หลวงพ่อสง่า
วัตถุมงคลของคุณ
รหัสวัตถุมงคล ราคา จำนวน
ยังไม่มีวัตถุมงคลอยู่ในตะกร้า
  • ชำระค่าวัตถุมงคล
  • แก้ไขรายการวัตถุมงคล
  • วิธีสั่งบูชาวัตถุมงคล
  •  

    ภัยแห่งพระพุทธศาสนาในประเทศไทย
    ภัยแห่งพระพุทธศาสนาในประเทศไทย
    ภัยแห่งพระพุทธศาสนา ความจริงมีมานานแล้ว แต่ถ้าเราไม่ประมาทจริง ๆ ก็ยังพอมีทางที่จะแก้ปัญหาได้ ภัยดังกล่าวมีสองอย่างคือ ภัยจากภายนอกและภัยจากภายใน ภัยภายในเป็นเรื่องใหญ่ ภัยภายนอกแม้จะร้ายแรง
    พระพุทธศาสนาในสถานการณ์โลกปัจจุบัน
    พระพุทธศาสนาในสถานการณ์โลกปัจจุบัน
    วันวิสาขบูชาเป็นวันของพระพุทธศาสนา แต่ได้เป็นวันที่สหประชาชาติยอมรับให้เป็นวันสำคัญสากลของโลก พระพุทธศาสนาในประเทศต่าง ๆ ก็ฉลองวันวิสาขบูชา รัฐบาลอินเดียซึ่งเป็นรัฐบาลที่นับถือศาสนาฮินดู ได้ประกาศวันวิสาขบูชา
    พระป่าและวัดป่าของไทย
    พระป่าและวัดป่าของไทย
    พระภิกษุในพระพุทธศาสนาแบ่งออกได้เป็นสองฝ่ายคือ ฝ่ายคันถธุระ และฝ่ายวิปัสสนาธุระ ฝ่ายคันถธุระ ศึกษาพระปริยัติธรรม คำสั่งสอนของพระพุทธเจ้าเพื่อให้เกิดความรอบรู้ในหลักธรรม เพื่อนำไปประพฤติปฏิบัติ
    การบัญญัติสิกขาบทของพระพุทธเจ้า
    การบัญญัติสิกขาบทของพระพุทธเจ้า
    การบัญญัติพระวินัยของพระพุทธเจ้ามีที่มาและมีขั้นตอนตามลำดับ ดังนี้ ในสมัยหนึ่ง พระผู้มีพระภาคพระพุทธเจ้าประทับอยู่ ณ ควงไม้สะเดา เขตเมืองเวรัญชาพร้อมพระภิกษุสงฆ์หมู่ใหญ่ เวรัญชาพราหมณ์ได้เข้าไปพบพระผู้มีพระภาค
    คณะสงฆ์อนัมนิกาย (พระญวน)
    คณะสงฆ์อนัมนิกาย (พระญวน)
    ในสมัยกรุงรัตนโกสินทร์ องเชียงสือ ราชนัดดาของเจ้าเมืองเว้ ได้หนีกบฏไปอยู่เมืองไซ่ง่อน แต่ต่อมาเมื่อสู้กบฏไม่ได้ จึงได้หนีมาอยู่ที่เกาะกระบือในเขมร ต่อมาได้เข้ามาขอพึ่งพระบรมโพธิสมภาร พระบาทสมเด็จพระพุทธยอดฟ้า ฯ ที่กรุงเทพ ฯ เมื่อปี พ.ศ.๒๓๒๖
    คณะสงฆ์จีนนิกาย
    คณะสงฆ์จีนนิกาย
    ชาวจีนที่เข้ามาอาศัยในประเทศไทยนั้น ส่วนใหญ่นับถือพระพุทธศาสนาฝ่ายมหายาน และลัทธิขงจื้อกับลัทธิเต๋าปนกันไป ในสมัยกรุงสุโขทัยและกรุงศรีอยุธยา ยังไม่ปรากฎว่ามีวัดและ พระสงฆ์ฝ่ายจีนขึ้นน่าจะมีเพียงศาลเจ้าเทวาลัยจีนเท่านั้น
    พัดยศสมณศักดิ์
    พัดยศสมณศักดิ์
    พัดยศสมณศักดิ์ น่าจะมีที่มาจากตาลปัตร ซึ่งตามหลักฐานพบว่า ในสมัยสมเด็จพระรามาธิบดีที่ ๑ หรือ พระเจ้าอู่ทอง ปฐมกษัตริย์แห่งกรุงศรีอยุธยา ได้มีกฎหมายที่กล่าวถึงการใช้ตาลปัตร (สมัยนั้นใช้ คำว่า ตาลีปัต) เมื่อ พ.ศ. ๑๘๙๔ ในสมัยพระบรมไตรโลกนาถ ได้มีการติดต่อทางการพระพุทธศาสนากับสิงหฬทวีป
    ทำเนียบสมณศักดิ์ พระสงฆ์ไทย
    ทำเนียบสมณศักดิ์ พระสงฆ์ไทย
    สมเด็จพระราชาคณะชั้นสุพรรณบัตร 8 ตำแหน่ง สมเด็จพระพุฒาจารย์ สมเด็จพระพุทธโฆษาจารย์ สมเด็จพระพุทธชินวงศ์ สมเด็จพระพุทธปาพจนบดี สมเด็จพระมหาธีราจารย์ สมเด็จพระมหารัชมังคลาจารย์ สมเด็จพระมหาวีรวงศ์ สมเด็จพระวันรัต
    กฎหมายพระสงฆ์ของไทย
    กฎหมายพระสงฆ์ของไทย
    พระบาทสมเด็จพระพุทธยอดฟ้าจุฬาโลกมหาราช ได้โปรดเกล้า ฯ ให้ตรากฎหมายคณะสงฆ์ที่เรียกว่า กฎพระสงฆ์ ขึ้นในระหว่าง ปี พ.ศ. ๒๓๒๕ - ๒๓๔๔ รวม ๑๐ ฉบับ
    การจัดการศึกษาพระปริยัติธรรมของคณะสงฆ์ไทย
    การจัดการศึกษาพระปริยัติธรรมของคณะสงฆ์ไทย
    ประเทศไทยเป็นประเทศที่มีพระพุทธศาสนาเป็นศาสนาประจำชาติมาแต่โบราณกาล ปวงชนชาวไทย มากกว่าร้อยละ ๙๕ นับถือพระพุทธศาสนา พระมหากษัตริย์ทุกพระองค์ทรงเป็นพุทธมามกะ
    การบริหารคณะสงฆ์ไทย
    การบริหารคณะสงฆ์ไทย
    เมื่อพระพุทธศาสนาล่วงมาได้ประมาณ ๒๐๐ ปี เศษ พระเจ้าอโศกมหาราชได้ครอบครอง อาณาจักรอินเดีย อย่างกว้างขวาง พระองค์เลื่อมใสในพระพุทธศาสนา ได้ยกพระพุทธศาสนาเป็นประธาน สำหรับประเทศเป็นครั้งแรก
    สมเด็จพระญาณสังวร สมเด็จพระสังฆราช  (เจริญ สุวัฑฒโน)
    สมเด็จพระญาณสังวร สมเด็จพระสังฆราช (เจริญ สุวัฑฒโน)
    สมเด็จพระสังฆราช (เจริญ สุวัฑฒโน) เป็นสมเด็จพระสังฆราชพระองค์ที่ 19 แห่งกรุงรัตนโกสินทร์ สถิต ณ วัดบวรนิเวศวิหาร ทรงดำรงตำแหน่งเมื่อปี พ.ศ. 2532
    สมเด็จพระอริยวงศาคตญาณ (วาสนมหาเถร)
    สมเด็จพระอริยวงศาคตญาณ (วาสนมหาเถร)
    สมเด็จพระสังฆราช (วาสนมหาเถร) เป็นสมเด็จพระสังฆราชพระองค์ที่ 18 แห่งกรุงรัตนโกสินทร์ สถิต ณ วัดราชบพิธสถิตมหาสีมาราม ทรงดำรงตำแหน่งเมื่อปี พ.ศ.2517
    สมเด็จพระอริยวงศาคตญาณ (ปุ่น  ปุณฺณสิริมหาเถร)
    สมเด็จพระอริยวงศาคตญาณ (ปุ่น ปุณฺณสิริมหาเถร)
    สมเด็จพระอริยวงศาคตญาณ (ปุ่น ปุณฺณสิริมหาเถร) เป็นสมเด็จพระสังฆราชพระองค์ที่ 17 แห่งกรุงรัตนโกสินทร์ สถิต ณ วัดพระเชตุพนวิมลมังคลาราม ทรงดำรงงตำแหน่งเมื่อปี พ.ศ. 2515
    สมเด็จพระอริยวงศาคตญาณ (จวน อุฏฺฐายี มหาเถร)
    สมเด็จพระอริยวงศาคตญาณ (จวน อุฏฺฐายี มหาเถร)
    สมเด็จพระสังฆราช (จวน อุฎฺฐายี) เป็นสมเด็จพระสังฆราช พระองค์ที่ 16 แห่งกรุงรัตนโกสินทร์ สถิต ณ วัดมกุฏกษัตริยารามวรวิหาร ทรงดำรงตำแหน่งเมื่อปี พ.ศ. 2508

    มีต่อหน้า >> 1 2 3 4 5 6 7 8 9 10 11 12 13 14 15 16 17 18 19 20 21 22 23 24 25 26 27 28 29 30 31 32 33 34 35 36 37 38 39 40 41 42 43 44 45 46 47 48 49 50 51 52 53 54 55 56 57 58 59 60 61 62 63 64 65
    © Copyright 2011 www.watnongmuang.com All rights reserved 999arch