หน้าแรก
สมาชิก
รายการวัตถุมงคล
ตะกร้าวัตถุมงคล
วิธีชำระวัตถุมงคล
วิธีบูชาวัตถุมงคล
ประวัติวัด
ติดต่อวัด
เว็บบอร์ด
สมาชิก Log in
อีเมล์
รหัสผ่าน
สมัครสมาชิกใหม่
ลืมรหัสผ่าน
ค้นหาวัตถุมงคล
วัตถุมงคลทุกหมวด
เครื่องราง พระอาจารย์ป้อม
พระเครื่อง พระอาจารย์ป้อม
พระเครื่อง หลวงพ่อสวัสดิ์
พระเครื่อง หลวงปู่พิมพ์มาลัย
พระเครื่อง หลวงพ่อสง่า
หมวดวัตถุมงคล
เครื่องราง พระอาจารย์ป้อม
พระเครื่อง พระอาจารย์ป้อม
พระเครื่อง หลวงพ่อสวัสดิ์
พระเครื่อง หลวงปู่พิมพ์มาลัย
พระเครื่อง หลวงพ่อสง่า
วัตถุมงคลของคุณ
รหัสวัตถุมงคล
ราคา
จำนวน
ยังไม่มีวัตถุมงคลอยู่ในตะกร้า
ชำระค่าวัตถุมงคล
แก้ไขรายการวัตถุมงคล
วิธีสั่งบูชาวัตถุมงคล
อุทยานประวัติศาสตร์เมืองสิงห์
อุทยาน
ประวัติศาสตร์
เมือง
สิงห์
เมือง
สิงห์
เป็น
เมือง
โบราณ ตั้ง
อยู่
บน
ฝั่ง
แม่
น้ำ
แคว
น้อย ตำบล
เมือง
สิงห์ อำเภอ
ไทร
โยค จังหวัด
กาญจนบุรี เป็น
เมือง
ปากทาง
บน
เส้น
ทาง
ที่
ไป
ยัง
ดิน
แดน
ตอน
ใต้
ของ
พม่า
ตัว
เมือง
สิงห์
และ
บรรดาศา
สน
สถาน
ภาย
ใน
เมือง
เป็นศิลป
สมัย
เดียว
กัน มี
อายุ
อยู่
ประมาณ
พุทธศ
วรรษ
ที่ ๑๘ - ๑๙ ตัว
เมือง
มีกำแพง
และ
คู
น้ำ
ล้อม
รอบ
เป็น
รูป
สี่
เหลี่ยม
อยู่
หลาย
ชั้น ตัว
ปราสาท
เมือง
สิงห์
เป็นศา
สน
สถาน
ตั้ง
อยู่
กลาง
เมือง ภาย
ใน
เมือง
ยัง
มี
ซากศา
สน
สถาน
อีก
สาม
แห่ง สร้าง
ขึ้น
ตาม
แบบ
ขอม และ
พุทธ
ศาสนา
ฝ่าย
มหายาน มี
พื้น
ที่
ทั้ง
หมด
ประมาณ ๕๐๐ ไร่
ตัว
ปราสาท
หัน
หน้า
ไป
ทาง
ทิศ
ตะวัน
ออก อัน
เป็น
ลักษณะ
ของการ
วาง
ทิศ
ตัว
อาคาร
ในศิลป
ขอม สร้าง
ด้วย
ศิลา
แล
งบน
ฐาน
รูปสี่
เหลี่ยม
ผืน
ผ้า กว้าง
ประมาณ ๔๐ เมตร ยาว
ประมาณ ๕๐ เมตร มี
ปรางค์
ประธาน
ตั้ง
อยู่
ตรง
กลาง มี
ระเบียง
คด
ก่อ
ด้วย
ศิลา
แลง ล้อม
รอบ
มี
ประตู
ซุ้ม ยอด
เป็น
ปรางค์
ทั้ง
สี่
ด้าน ทาง
ด้านทิศ
ตะวัน
ออก
เฉียง
ใต้
ของ
ปรางค์
ประธาน
มี
บรรณ
ศาลา
ตั้ง
อยู่บน
ฐาน
เดียว
กัน ตัว
ปราสาท
มี
กำแพง
แก้ว
สร้าง
ด้วย
ศิลา
แลงล้อม
รอบ นอก
กำแพง
แก้ว
ทาง
ทิศ
ตะวัน
ตก
เฉียง
เหนือ มี
ซาก
โบราณ
สถาน
อีก
แห่ง
หนึ่ง ภาย
ใน
กำแพง
เมือง
มี
ร่อง
รอย
ของ สระ
น้ำ
อยู่ ๖ แห่ง
จาก
การ
สันนิษฐาน
ทาง
โบราณ
คดี
และ
ประวัติศาสตร์ พอ
เชื่อ
ได้
ว่า ใน
ระหว่าง
พุทธ
ศต
วรรษ
ที่ ๑๖ - ๑๘ เป็น
ห้วง
ระยะ
เวลา
ที่อาณา
จักร
ทวารา
วดี
เสื่อม
อำนาจ
ลง อิทธิ
พล
ของศิลป
ขอม
ได้
แพร่
ขยาย
เข้า
มา
ทาง
ภาค
ตะวัน
ออก
เฉียง
เหนือและ
ภาค
กลางของ
ประเทศไทย ปัจจุบัน
ค้น
พบ
โบราณ
สถาน
และ
โบราณ
วัตถุ
เป็น
จำนวน
มาก
สร้าง
ขึ้น
ใน
บริเวณ
นี้
ใน
ห้วง
เวลา
ดัง
กล่าว
ณ ที่
ตั้ง
ปราสาท
เมือง
สิงห์ ได้
พบ
ประะ
ติ
มา
กรรม
อัน
เนื่อง
จาก
พุทธ
ศาสนา
ฝ่าย
มหายาน ที่
สำคัญ
อยู่
เป็น
จำนวน
มาก คือ รูป
พระอวโลกิเตศวร และ
พระ
นาง
ปรัชญา
ปาร
มิ
ตา และ
ชิ้น
ส่วน
ของ
พระ
พุทธ
รูป ประะ
ติ
มา
กรรม
ดัง
กล่าว
มี
อายุ
อยู่
ใน
ห้วงศิลป
ขอม แบบ
บายน จึง
อนุมาน
ว่า
ปราสาท
เมือง
สิงห์
น่า
จะ
สร้าง
ขึ้น
เป็น
ศาสนา
ฝ่าย
มหายาน เมื่อ
ประมาณ ปี พ.ศ.๑๗๐๐ - ๑๗๕๐
พระ
บาท
สมเด็จ
พระ
จุลจอม
เกล้าฯ ทรง
มี พระ
ราช
นิพนธ์
เกี่ยว
กับ
ปราสาท
เมือง
สิงห์ ไว้
ตอน
หนึ่ง
ว่า " ถึง
ปราสาท
ทิศ 4 ด้าน ทาง
ที่
ไป
นั้น
เป็น
ต้น
ไผ่
ครึ้ม ไม่
สู้
รก
นัก พอ
เดิน
ไป
ได้ แต่
รอบ
นอก
ปราสาท
นั้น ไม้
ขึ้น
รก
ชิด
เดิน
ไม่
ได้ เรา
เข้า
ช่อง
ปรางค์
ด้าน
ปีน
ขึ้น
ไป ตาม
ก้อย
แลง
ที่
หัก
พัง
ลง
มา ถึง
ยอด
กลาง
ที่
ทลาย เป็น
กอง
อยู่
แล้ว
เลียบ
ลง
ไป
ข้าง
มุม
ทิศ
ที่
ปราสาท
นี้ ให้
พระ
พล
ลอง
วัด
ดู
ยาว
ด้าน
ทิศ
ตะวัน
ตก
ไป
ตะวัน
ออก 20 วา เหนือ
ไป
ใต้ 18 วา มี
ปรางค์
อยู่
กลาง
ยอด 1 แต่
ทลาย
เสีย
แล้ว ไม่
เห็น
ว่า
เป็น
อย่าง
ไร ปรางค์
ทิศ 4 ทิศ
รูป
ร่าง
เห็น
จะ
เหมือน
กับ
ปรางค์
ใหญ่
ชัก
กำแพง
แก้ว
ติด
กัน ข้าง
ด้าน
หน้า
สาม
ด้าน ด้าน
หลัง
ทิศ
ต่อ
ปรางค์
ทิศ
กลาง
ทั้ง
สอง
ข้าง
นั้น มี
หลัง
คา
ยาว
เป็น
ที่
เรือน
จันทน์ ใน
ร่วม
กลาง
สัก 4 ศอก ที่
ปรางค์ และ
กำแพง
แก้ว
เรือน
จันทน์
ทั้ง
ปวง
ก่อ
ด้วย
แลง
แผ่น
ใหญ่"
ตัว
เมือง
สิงห์ มี
คัน
ดิน
เตี้ย ๆ อยู่
รอบ
เมือง ทั้ง
สอง
ด้าน
อยู่
ประมาณ 7 แนว ส่วน
ด้าน
ทิศ
ใต้ ติด
กับ
แม่
น้ำ
แคว
น้อย
ไม่
มี
คัน
ดิน ภาย
ใน
ตัว
เมือง มี
คัน
ดิน
จาก
กำแพง
เมือง
ด้าน
ทิศ
ใต้
ผ่าน
หน้า ด้าน
ทิศ
ตะวัน
ออก
ของ
ปราสาท
วก
ไป
ทาง
ทิศ
ใต้ ขนาน
กับ
ตัว
โบราณ
สถาน ทาง
ด้าน
เหนือ
ไป
สุด
ที่ กำแพง
เมือง
ด้าน
ตะวัน
ตก
ภาย
ใน
กำแพง
เมือง
มี
สิ่ง
ก่อ
สร้าง
โบราณ
อัน
เนื่อง
ใน
ทาง
ศาสนา
อยู่ 4 พื้น
ที่ ด้วย
กัน
คือ
โบราณ
สถาน
แห่ง
ที่
หนึ่ง
คือ
ตัว
ปราสาท มี
แผน
ผัง
เป็น
รูป
สี่
เหลี่ยม
ผืน
ผ้า สร้าง
ด้วย
ศิลา
แลง ประดับ
ลวด
ลาย
ปูน
ปั้น หัน
หน้า
ไป
ทาง
ทิศ
ตะวัน
ออก ตรง
กลาง
เป็น
ปรางค์
องค์
ใหญ่ ที่
เป็น
ปรางค์
ประธาน ฐาน
ย่อ
มุม
ส่วน
ยอด
พัง
ทลาย
หมด ล้อม
รอบ
ด้วยโค
ปุ
ระ
สี่
ทิศ ยัง
เหลือ
อยู่
ทาง
ด้าน
ทิศ
ตะวัน
ตก ส่วน
ด้าน
ทิศ
เหนือ
และ
ทิศ
ใต้ ส่วน
บน
พัง
หมด เหลือ
เพียง
เรือน
ธาตุ
มุม
แต่
ละ
มุม
สร้าง
เป็น
ซุ้ม
ทิศ
สี่
ซุ้ม ระหว่าง
ซุ้ม
ทิศ
แต่
ละ
ซุ้ม
กับ
โค
ปุ
ระ
มี
แนว
ระเบียง ทาง
เดิน
ที่
มี
ผนัง
สอง
ด้าน และ
มี
หลัง
คา
เชื่อม
ต่อ มีบ
รา
ลี
ประทับ
บน
สัน
หลัง
คา
ด้าน
ทิศ
ตะวัน
ออก
เฉียง
ใต้
ของ
ปรางค์ป
ประธาน มี
บรรณา
ลัย
ขนาด
เล็ก
รูป
สี่
เหลี่ยม
ผืน
ผ้า มี
ประตู
เข้า
ทาง
ด้าน
ทิศ
ตะวัน
ตก อยู่
หนึ่ง
หลัง
หน้า
ปรางค์
ประธาน
เป็น
ระเบียง
เครื่อง
ไม้
รูป
กาก
บาท ยื่น
ไป
ถึง
มุข
ด้าน
ใน
ของ
โค
ปุ
ระ ถัด
จาก
ทาง
ขึ้น
ด้าน
หน้า
ของ
โค
ปุ
ระ
เป็น
ลาน ปู
ด้วย
แลง
เป็น
รูป
สี่
เหลี่ยม
จตุรัส
ขนาด
ประมาณ
ด้าน
ละ 30 เมตร ที่
มุม
ลาน
ทั้ง
สี่
มุม
ทำ
เป็น
แอ่ง
ตื้น ๆ รูป
สี่
เหลี่ยม
จตุรัส
มี
กำแพง
แก้ว
รอบ
ตัว
ปราสาท รวม
ไป
ถึง
ลาน
ด้าน
หน้า
ของ
โค
ปุ
ระ
ด้าน
ตะวัน
ออก กำแพง
แก้ว
นี้
เป็น
กำแพง
แลง ถัด
จาก
โค
ปุ
ระเป็น
ทาง
เดิน
รูป
กาก
บาท
ยาว
ยื่น
ไป
ทาง
ทิศ
ตะวัน
ออก ที่
จะ
ตรง
กับ
ประตู
เมือง
ด้าน
นั้น
โบราณ
สถาน
แห่ง
ที่
สอง
สร้าง
ด้วย
แลง ประดับ
ลาย
ปูน
ปั้น ตั้ง
อยู่
บน
ฐาน
เขียง
รูป
สี่
เหลี่ยม
ผืน
ผ้า
ซ้อน
กัน
สอง
ชั้น กว้าง
ประมาณ 34 เมตร ยาว
ประมาณ 54 เมตร สูง
ประมาณ 1 เมตร ตรง
กลาง
เป็น
ดิน
ลูก
รัง
หรือ
แลง
เม็ด
เล็ก
อัด
แน่น
สิ่ง
ก่อ
สร้าง
บน
ฐาน
นี้ เป็น
ปรางค์
หนึ่ง
องค์ มี
โค
ปุ
ระ
ทั้ง
สี่
ด้าน โค
ปุ
ระ
ด้าน
ตะวัน
ออก อยู่
ห่าง
จาก
องค์
ปรางค์มาก
กว่า
โค
ปุ
ระ
อื่น
ซึ่งอยู่
ติด
กับ
องค์
ประธาน มี
ระเบียง
เชื่อม
ระหว่าง
โค
ปุ
ระ
ด้าน
ทิศ
เหนือ
กับ
โค
ปุ
ระ
ด้าน
ทิศ
ตะวัน
ตก และ
ต่อ
ไป
ยัง
โค
ปุ
ระ
ด้าน
ทิศ
ใต้ ระเบียง
คด
จาก
โค
ปุ
ระ
ด้าน
ทิศ
เหนือ
และ
ทิศ
ใต้ มา
ทาง
ทิศ
ตะวัน
ออก
มี
เพียง
พื้น ไม่
มี
ผนัง
และ
หลัง
คา
คลุม
อย่าง
ที่
ควร
จะ
เป็น
บริเวณ
โบราณ
สถาน
แห่ง
นี้ มี
แท่น
ฐาน
ประ
ติ
มา
กรรม
หิน
ทราย
จำนวน
มาก
โบราณ
สถาน
แห่ง
ที่
สาม
อยู่
นอก
กำแพง
แก้ว
ด้าน
ทิศ
ตะวัน
ตก
เฉียง
ใต้
ของ
โบราณ
สถาน
แห่ง
ที่
หนึ่ง เป็น
แนว
โบราณ
สถานขนาด
เล็ก ภาย
ใน
กลวง
ก่อ
ด้วย
แลงและ
อิฐ ฐาน
ชั้น
ล่าง
เป็น
ฐาน
เขียง
รูป
สี่
เหลี่ยม
จตุรัส
ก่อ
ด้วย
แลง ถัด
ขึ้น
มา
เป็น
ฐาน
ปัทม์
ก่อ
ด้วย
อิฐ ส่วน
ชั้น
บน
สุด
ก่อ
ด้วย
แลง
โบราณ
สถาน
แห่ง
ที่
สี่
อยู่
ห่าง
จาก
กำแพง
แก้ว
ด้าน
ทิศ
ตะวัน
ตก
ของ
โบราณ
สถาน
แห่ง
ที่
หนึ่ง ประมาณ 240 เมตร ก่อ
ด้วย
แลง
เป็น
พื้น
ชั้น
เดียว
รูป
สี่
เหลี่ยมผืน
ผ้า เรียง
เป็น
ระยะ
สี่
ส่วน
เท่า ๆ กัน แต่
ละ
ส่วน
กว้าง
ประมาณ 4 เมตร ยาว
ประมาณ 7 เมตร อยู่
ห่าง
กัน
ประมาณ
ครึ่ง
เมตร พื้น
บาง
ส่วนปู
ด้วย
ศิลา
แลง มี
กรวด
และ
ทราย
อัด
แน่น
Update :
14/5/2554
© Copyright 2011 www.watnongmuang.com All rights reserved
999arch