|
|
โหราศาสตร์ไทย 6
การหาเวลาวางลัคน์และการเรียงยาม
ตำราเลขเจ็ดตัว เป็นพื้นฐานที่โบราณาจารย์ได้สร้างขึ้นไว้เป็นเบื้องต้นในหลักตำราพยากรณ์ โดยได้มาจากการโคจรของดาวเจ็ดดวงบนท้องฟ้า จับเอาระยะการโคจรของดาว จากช้าที่สุดจนถึงเร็วที่สุดคือ
๗ - ดาวเสาร์ (เสาร์) ๕ - ดาวพฤหัสบดี (ครู) ๓ - อังคาร (ภุมมะ)
๑ - ดวงอาทิตย์ (สุริชะ) ๖ - ดาวศุกร์ (ศุกระ) ๔ - ดาวพุธ (พุธะ)
๒ - ดาวจันทร์ (จันเทา)
และกำหนดเอาชื่อดาวทั้งเจ็ดดวงนี้เป็นชื่อวันทั้งเจ็ด คือสัปดาห์หนึ่งโดยถอดเอาตัวกลาง คือ ๑ - อาทิตย์ (สุ ริชะ) ไปอีกทีละสี่ก็จะได้ ๒ - จันทร์ (จันเทา) และนับจากจันทร์ออกไปอีกสี่ ก็จะได้ ๓ - อังคาร (ภุมมะ) นับทำนองนี้เรื่อยไปจนครบทั้งเจ็ดดาว ก็จะได้ชื่อวันครบทั้งเจ็ดวัน มีชื่อตามที่เรียกว่า อาทิตย์ จันทร์ อังคาร พุธ พฤหัสบดี ศุกร์ และเสาร์ ตามลำดับ
ในหนึ่งวันแบ่งออกเป็นชั่วโมง โดยคิดจากเวลาที่ดวงอาทิตย์ขึ้นถึงเวลาที่ดวงอาทิตย์ตก เป็นระยะเวลา ๑๒ ชั่วโมง จากดวงอาทิตย์ตกไปถึงดวงอาทิตย์ขึ้นอีก ๑๒ ชั่วโมง รวมเป็น ๒๔ ชั่วโมง
ตามวิชาโหราศาสตร์ กำหนดการนับวันโดยถือดวงอาทิตย์เป็นเกณฑ์ คือจากเวลาที่ดวงอาทิตย์ขึ้นไปจนถึงดวงอาทิตย์ขึ้นอีกครั้งหนึ่งเป็นหนึ่งวัน ไม่ได้ใช้เวลา ๒๔ นาฬิกา อย่างที่ใช้กันอยู่เป็นสากล
ในภาคกลางวัน ๑๒ ชั่วโมง และภาคกลางคืนอีก ๑๒ ชั่งโมง แต่ละภาคแบ่งออกเป็นแปดยาม แต่ละยามจะเท่ากับ หนึ่งชั่วโมงครึ่ง ยามทั้งแปดทั้งภาคกลางวัน และภาคกลางคืน มีชื่อเรียกโดยกำหนดเอาชื่อของวันนั้นเป็นยามแรก แต่เนื่องจากมีแปดยามและมีเจ็ดวัน ดังนั้นในยามสุดท้ายคือยามแปด จึงกลับไปใช้ชื่อยามแรกดังนี้
ยามกลางวัน วันอาทิตย์
เวลา |
๐๖.๐๐ น. |
ถึง |
๐๗.๐๐ น. |
เป็นยาม |
สุวิชะ |
(๑) |
คือยาม |
แรกหรือยามหนึ่ง |
เวลา |
๐๗.๓๐ น. |
ถึง |
๐๙.๐๐ น. |
เป็นยาม |
ศุกระ |
(๖) |
คือยาม |
สอง |
เวลา |
๐๙.๐๐ น. |
ถึง |
๑๐.๓๐ น. |
เป็นยาม |
พุธะ |
(๔) |
คือยาม |
สาม |
เวลา |
๑๐.๓๐ น. |
ถึง |
๑๒.๐๐ น. |
เป็นยาม |
จันเทา |
(๒) |
คือยาม |
สี่ |
เวลา |
๑๒.๐๐ น. |
ถึง |
๑๓.๓๐ น. |
เป็นยาม |
เสาร์ |
(๗) |
คือยาม |
ห้า |
เวลา |
๑๓.๓๐ น. |
ถึง |
๑๕.๐๐ น. |
เป็นยาม |
ครู |
(๕) |
คือยาม |
หก |
เวลา |
๑๕.๐๐ น. |
ถึง |
๑๖.๓๐ น. |
เป็นยาม |
ภุมมะ |
(๓) |
คือยาม |
เจ็ด |
เวลา |
๑๖.๓๐ น. |
ถึง |
๑๘.๐๐ น. |
เป็นยาม |
สุวิชะ |
(๑) |
คือยาม |
แปด |
วันจันทร์
เวลา |
๐๖.๐๐ น. |
ถึง |
๐๗.๐๐ น. |
เป็นยาม |
จันเทา |
(๒) |
คือยาม |
แรก หรือยามหนึ่ง |
เวลา |
๐๗.๓๐ น. |
ถึง |
๐๙.๐๐ น. |
เป็นยาม |
เสาร์ |
(๗) |
คือยาม |
สอง |
เวลา |
๐๙.๐๐ น. |
ถึง |
๑๐.๓๐ น. |
เป็นยาม |
ครู |
(๕) |
คือยาม |
สาม |
เวลา |
๑๐.๓๐ น. |
ถึง |
๑๒.๐๐ น. |
เป็นยาม |
ภุมมะ |
(๓) |
คือยาม |
สี่ |
เวลา |
๑๒.๐๐ น. |
ถึง |
๑๓.๓๐ น. |
เป็นยาม |
สุวิชะ |
(๑) |
คือยาม |
ห้า |
เวลา |
๑๓.๓๐ น. |
ถึง |
๑๕.๐๐ น. |
เป็นยาม |
ศุกระ |
(๖) |
คือยาม |
หก |
เวลา |
๑๕.๐๐ น. |
ถึง |
๑๖.๓๐ น. |
เป็นยาม |
พุธ |
(๔) |
คือยาม |
เจ็ด |
เวลา |
๑๖.๓๐ น. |
ถึง |
๑๘.๐๐ น. |
เป็นยาม |
จันเทา |
(๒) |
คือยาม |
แปด |
วันอังคาร
เวลา |
๐๖.๐๐ น. |
ถึง |
๐๗.๐๐ น. |
เป็นยาม |
ภุมมะ |
(๓) |
คือยาม |
แรก หรือยามหนึ่ง |
เวลา |
๐๗.๓๐ น. |
ถึง |
๐๙.๐๐ น. |
เป็นยาม |
สุวิชะ |
(๒) |
คือยาม |
สอง |
เวลา |
๐๙.๐๐ น. |
ถึง |
๑๐.๓๐ น. |
เป็นยาม |
ศุกระ |
(๖) |
คือยาม |
สาม |
เวลา |
๑๐.๓๐ น. |
ถึง |
๑๒.๐๐ น. |
เป็นยาม |
พุธ |
(๔) |
คือยาม |
สี่ |
เวลา |
๑๒.๐๐ น. |
ถึง |
๑๓.๓๐ น. |
เป็นยาม |
จันเทา |
(๒ |
คือยาม |
ห้า |
เวลา |
๑๓.๓๐ น. |
ถึง |
๑๕.๐๐ น. |
เป็นยาม |
เสาร์ |
(๗) |
คือยาม |
หก |
เวลา |
๑๕.๐๐ น. |
ถึง |
๑๖.๓๐ น. |
เป็นยาม |
ครู |
(๕) |
คือยาม |
เจ็ด |
เวลา |
๑๖.๓๐ น. |
ถึง |
๑๘.๐๐ น. |
เป็นยาม |
ภุมมะ |
(๓) |
คือยาม |
แปด |
วันพุธ
เวลา |
๐๖.๐๐ น. |
ถึง |
๐๗.๐๐ น. |
เป็นยาม |
พุธ |
(๔) |
คือยาม |
แรกหรือยามหนึ่ง |
เวลา |
๐๗.๓๐ น. |
ถึง |
๐๙.๐๐ น. |
เป็นยาม |
จันเทา |
(๒) |
คือยาม |
สอง |
เวลา |
๐๙.๐๐ น. |
ถึง |
๑๐.๓๐ น. |
เป็นยาม |
เสาร์ |
(๗) |
คือยาม |
สาม |
เวลา |
๑๐.๓๐ น. |
ถึง |
๑๒.๐๐ น. |
เป็นยาม |
ครู |
(๕) |
คือยาม |
สี่ |
เวลา |
๑๒.๐๐ น. |
ถึง |
๑๓.๓๐ น. |
เป็นยาม |
ภุมมะ |
(๓) |
คือยาม |
ห้า |
เวลา |
๑๓.๓๐ น. |
ถึง |
๑๕.๐๐ น. |
เป็นยาม |
สุวิชะ |
(๑) |
คือยาม |
หก |
เวลา |
๑๕.๐๐ น. |
ถึง |
๑๖.๓๐ น. |
เป็นยาม |
ศุกระ |
(๖) |
คือยาม |
เจ็ด |
เวลา |
๑๖.๓๐ น. |
ถึง |
๑๘.๐๐ น. |
เป็นยาม |
พุธ |
(๔) |
คือยาม |
แปด |
วันพฤหัสบดี
เวลา |
๐๖.๐๐ น. |
ถึง |
๐๗.๐๐ น. |
เป็นยาม |
ครู |
(๕) |
คือยาม |
แรกหรือยามหนึ่ง |
เวลา |
๐๗.๓๐ น. |
ถึง |
๐๙.๐๐ น. |
เป็นยาม |
ภุมมะ |
(๓) |
คือยาม |
สอง |
เวลา |
๐๙.๐๐ น. |
ถึง |
๑๐.๓๐ น. |
เป็นยาม |
สุวิชะ |
(๑) |
คือยาม |
สาม |
เวลา |
๑๐.๓๐ น. |
ถึง |
๑๒.๐๐ น. |
เป็นยาม |
ศุกระ |
(๖) |
คือยาม |
สี่ |
เวลา |
๑๒.๐๐ น. |
ถึง |
๑๓.๓๐ น. |
เป็นยาม |
พุธ |
(๔) |
คือยาม |
ห้า |
เวลา |
๑๓.๓๐ น. |
ถึง |
๑๕.๐๐ น. |
เป็นยาม |
จันเทา |
(๒) |
คือยาม |
หก |
เวลา |
๑๕.๐๐ น. |
ถึง |
๑๖.๓๐ น. |
เป็นยาม |
เสาร์ |
(๗) |
คือยาม |
เจ็ด |
เวลา |
๑๖.๓๐ น. |
ถึง |
๑๘.๐๐ น. |
เป็นยาม |
ครู |
(๕) |
คือยาม |
แปด |
วันศุกร์
เวลา |
๐๖.๐๐ น. |
ถึง |
๐๗.๐๐ น. |
เป็นยาม |
ศุกระ |
(๖) |
คือยาม |
แรก หรือยามหนึ่ง |
เวลา |
๐๗.๓๐ น. |
ถึง |
๐๙.๐๐ น. |
เป็นยาม |
พุธ |
(๔) |
คือยาม |
สอง |
เวลา |
๐๙.๐๐ น. |
ถึง |
๑๐.๓๐ น. |
เป็นยาม |
จันเทา |
(๒) |
คือยาม |
สาม |
เวลา |
๑๐.๓๐ น. |
ถึง |
๑๒.๐๐ น. |
เป็นยาม |
สาร์ |
(๗) |
คือยาม |
สี่ |
เวลา |
๑๒.๐๐ น. |
ถึง |
๑๓.๓๐ น. |
เป็นยาม |
ครู |
(๕) |
คือยาม |
ห้า |
เวลา |
๑๓.๓๐ น. |
ถึง |
๑๕.๐๐ น. |
เป็นยาม |
ภุมมะ |
(๓) |
คือยาม |
หก |
เวลา |
๑๕.๐๐ น. |
ถึง |
๑๖.๓๐ น. |
เป็นยาม |
เสุวิชะ |
(๑) |
คือยาม |
เจ็ด |
เวลา |
๑๖.๓๐ น. |
ถึง |
๑๘.๐๐ น. |
เป็นยาม |
ศุกระ |
(๖) |
คือยาม |
แปด |
วันเสาร์
เวลา |
๐๖.๐๐ น. |
ถึง |
๐๗.๐๐ น. |
เป็นยาม |
เสาร์ |
(๗) |
คือยาม |
แรก หรือยามหนึ่ง |
เวลา |
๐๗.๓๐ น. |
ถึง |
๐๙.๐๐ น. |
เป็นยาม |
ครู |
(๕) |
คือยาม |
|
Update : 14/5/2554
|
|
|