หน้าแรก สมาชิก รายการวัตถุมงคล ตะกร้าวัตถุมงคล วิธีชำระวัตถุมงคล วิธีบูชาวัตถุมงคล ประวัติวัด ติดต่อวัด เว็บบอร์ด
สมาชิก Log in
อีเมล์
รหัสผ่าน
สมัครสมาชิกใหม่
ลืมรหัสผ่าน
















ค้นหาวัตถุมงคล
 
 
 
หมวดวัตถุมงคล
  เครื่องราง พระอาจารย์ป้อม
  พระเครื่อง พระอาจารย์ป้อม
  พระเครื่อง หลวงพ่อสวัสดิ์
  พระเครื่อง หลวงปู่พิมพ์มาลัย
  พระเครื่อง หลวงพ่อสง่า
วัตถุมงคลของคุณ
รหัสวัตถุมงคล ราคา จำนวน
ยังไม่มีวัตถุมงคลอยู่ในตะกร้า
  • ชำระค่าวัตถุมงคล
  • แก้ไขรายการวัตถุมงคล
  • วิธีสั่งบูชาวัตถุมงคล
  •  

    การเลี้ยงแกะ-6
    การทำเบอร์ประจำตัว

            การทำเบอร์ประจำตัวเพื่อเก็บบันทึกข้อมูลลงในทะเบียนประวัติของแกะแต่ละตัว มีความสำคัญและเป็นประโยชน์ต่อผู้เลี้ยงมาก ทำให้ทราบประวัติสายพันธุ์ และความสามารถในการผลิต (เช่น น้ำหนักแรกเกิด น้ำหนักหย่านม อัตราการเจริญเติบโตระยะต่างๆ การให้นม การให้ลูก) รวมทั้งช่วยในการจัดการผสมพันธุ์และการคัดเลือกพันธุ์ ทำให้การปรับปรุงพันธุ์เป็นไปอย่างแม่นยำ ขณะเดียวกันช่วยป้องกันการผสมเลือดชิดที่อาจเกิดขึ้นในฟาร์ม วิธีการทำเบอร์ประจำตัวสัตว์ที่นิยมทำกัน มีอยู่ 3 วิธี คือ
            1. การใช้คีมสักเบอร์หู เบอร์จะปรากฎอยู่ด้านในของใบหูไม่ค่อยลบเลือนง่าย เหมาะสำหรับแกะขังคอก เพราะต้องจับพลิกดูเบอร์ที่ด้านในของหู
            2. การติดเบอร์หโดยใช้แผ่นพลาสติกหรือโลหะที่มีหมายเลขแล้วใช้คีมหนียบให้ติดกับใบหู วิธีนี้ค่อนข้างสะดวก ง่ายต่อการอ่าน สามารถมองเห็นได้จากระยะไกล
            3. ใช้เบอร์แขวนคอ โดยใช้เชือกร้อยแผ่นไม้ โลหะ หรือพลาสติกที่มีหมายเลขแล้วแขวนคอแกะ วิธีนี้เป็นวิธีที่ค่อนข้างง่าย แต่บางครั้งเบอร์อาจเหลุดหรือเชือกอาจจะขาดหายได้ง่าย และอาจเกิดอันตรายเชือกไปเกี่ยวกิ่งไม้ทำให้รัดคอได้



    การบันทึกข้อมูลทะเบียนประวัติ

    เบอร์ตัว
    พันธุ์
    เพศ
    วันเกิด
    เบอร์พ่อ
    เบอร์แม่
    น้ำหนัก
    ลำดับคอก
    หมายเหตุ
    -
    -
    -
    -
    -
    -
    -
    -
    -
    -
    -
    -
    -
    -
    -
    -
    -
    -
    -
    -
    -
    -
    -
    -
    -
    -
    -
    -
    -
    -
    -
    -
    -
    -
    -
    -

    การบันทึกข้อมูลการสืบพันธุ์ ได้แก่
               อายุและน้ำหนักเมื่อเริ่มผสมพันธุ์
               อัตราการคลอดลูก
               อัตราการเกิดลูกเดี่ยว ลูกแฝด
               อัตราการเลี้ยงลูกรอดเมื่อหย่านมและหลังหย่านม
               อัตราการผสมติด
               อายุและน้ำหนกเมื่อให้ลูกตัวแรก
               ระยะห่างการให้ลูก

    การบันทึกข้อมูลการเจริญเติบโต
               น้ำหนัก รอบอก ความยาว ส่วนสูง เมื่ออายุแรกเกิด, 3, 6, 9 เดือน และ 1, 2, 3, 4 ปี
               น้ำหนักเมื่ออายุเริ่มผสมพันธุ์
               น้ำหนักเมื่อให้ลูกตัวแรก
               น้ำหนักเมื่อโตเต็มที่ของพ่อแม่พันธุ์

    เบอร์ตัว
    วันที่ชั่ง
    อายุ
    น้ำหนัก
    อก
    ยาว
    สูง
    หมายเหตุ
    -
    -
    -
    -
    -
    -
    -
    -
    -
    -
    -
    -
    -
    -
    -
    -
    -
    -
    -
    -
    -
    -
    -
    -
    -
    -
    -
    -
    -
    -
    -
    -
    หน่วยงาน
    จังหวัด
    แพะ
    แกะ
    รหัส
    โทรศัพท์
    ศูนย์วิจัยและบำรุงพันธุ์สัตว์หนองกวาง ราชบุรี 1,2 -
    032
    261090
    ศูนย์วิจัยและบำรุงพันธุ์สัตว์ตาก ตาก 3 -
    055
    511728
    ศูนย์วิจัยและบำรุงพันธุ์สัตว์สุราษฎร์ธานี สุราษฎร์ธานี 1,2 -
    077
    286939
    ศูนย์วิจัยและบำรุงพันธุ์สัตว์ยะลา ยะลา 1,2,3 -
    073
    214210
    สถานีบำรุงพันธุ์สัตว์ปากช่อง นครราชสีมา 4 -
    044
    313072
    สถานีบำรุงพันธุ์สัตว์ชัยภูมิ ชัยภูมิ 1,2 4,6
    044
    812370
    สถานีบำรุงพันธุ์สัตว์แม่ฮ่องสอน แม่ฮ่องสอน - 7,8
    053
    611031
    สถานีบำรุงพันธุ์สัตว์ปลวกแดง ระยอง - 1,2,5
    038
    618461
    สถานีบำรุงพันธุ์สัตว์เทพา สงขลา 1,2 3,5
    074
    239910
    สถานีบำรุงพันธุ์สัตว์ปัตตานี ปัตตานี 1,4,5,6 -
    073
    335935
    สถานีบำรุงพันธุ์สัตว์นราธิวาส นราธิวาส 1,2 1,2
    073
    512279
    สถานีบำรุงพันธุ์สัตว์กระบี่ กระบี่ 1,2 -
    075
    621347
    สถานีบำรุงพันธุ์สัตว์ตรัง ตรัง 3 -
    075
    218476

    แพะเนื้อ แพะนม แกะเนื้อ แกะขน
    1=แองโกลนูเบียน
    2=บอร์
    3=พื้นเมือง


    4=ซาเนน
    5=อัลไพน์
    6=ทอกเกนเบิร์ก


    1=คาทาดิน
    2=ซานตาอิเนส
    3=บาร์บาโดส
    4=ดอร์เปอร์
    5=พื้นเมือง
    6=เมอริโน
    7=บอนด์
    8=คอร์ริเดล


    การจำหน่ายแพะแกะของกรมปศุสัตว์
    จำหน่ายขนาดอายุ 3 เดือนขึ้นไป (น้ำหนักประมาณ 15 กก.) เพศผู้และเพศเมียราคาเท่ากัน โดยคิดราคาตามน้ำหนักตัวกิโลกรัมละ 60 บาท

    และบวกเพิ่มค่าสายพันธุ์อีก คือ สายพันธุ์แท้ เพิ่ม 1,000 บาท ลูกผสม 50% เพิ่ม 500 บาท ลูกผสม 75% เพิ่ม 750 บาท
     

    • Update : 16/7/2554
    © Copyright 2011 www.watnongmuang.com All rights reserved 999arch