การเทียบปริมาตรและปริมาณขนาดที่ใช้ในยาไทย |
ขนาดที่ใช้ในยาไทย |
1 ถ้วยตะไล
|
มีปริมาตรประมาณ |
25-30 |
มิลลิลิตร |
1 ถ้วยชา
|
มีปริมาตรประมาณ |
75 |
มิลลิลิตร |
1 ถ้วยแก้ว
|
มีปริมาตรประมาณ |
200-250 |
มิลลิลิตร |
1 ช้อนชา
|
มีปริมาตรเท่ากับ |
5 |
มิลลิลิตร |
1 ช้อนหวาน
|
มีปริมาตรเท่ากับ |
8 |
มิลลิลิตร |
1 ช้อนโต๊ะ
|
มีปริมาตรเท่ากับ |
15 |
มิลลิลิตร |
2 ช้อนแกง
|
มีปริมาตรประมาณ |
1 |
ช้อนโต๊ะ |
1 หยิบมือ
|
มีปริมาตรเท่ากับ ใช้หัวแม่มือ นิ้วชี้ และกลาง หยิบขึ้นมา |
1 กำมือ
|
มีปริมาตรเท่ากับ ใช้นิ้วหัวแม่มือและนิ้วชี้กำขึ้นมา |
1 กอบมือ
|
มีปริมาตรเท่ากับ สองฝ่ามือ หรือหมายความถึงปริมาณของสมุนไพร |
|
ที่จากการใช้มือทั้งสองข้างกอบเข้าหากันให้ส่วนของปลายนิ้วแตะกัน |
1 ฝ่ามือ
|
มีปริมาตรประมาณ กว้าง 3 นิ้วฟุต ยาว 4 นิ้วฟุต |
1 องคุลี
|
หมายถึง ความยาว 1 ข้อแรกของนิ้วกลาง |
|
|
|
|
เทียบมาตราโบราณ |
150 เมล็ดข้าวเปลือก
|
เป็น |
1 |
หยิบมือ |
4 หยิบมือ
|
เป็น |
1 |
กำมือ |
4 กำมือ
|
เป็น |
1 |
ฝ่ามือ |
2 ฝ่ามือ
|
เป็น |
1 |
กอบมือ |
4 กอบมือ
|
เป็น |
1 |
ทะนาน |
20 ทะนาน
|
เป็น |
1 |
สัด |
80 สัด
|
เป็น |
1 |
ปั้น |
2 ปั้น
|
เป็น |
1 |
เกวียน |
|
|
|
|
มาตราจีนเป็นมาตราไทยและเมตริก
|
10 หลี
|
เป็น 1 หุน เท่ากับ |
0.375 |
กรัม |
10 หุน
|
เป็น 1 สลึง เท่ากับ |
3.750 |
กรัม |