หน้าแรก สมาชิก รายการวัตถุมงคล ตะกร้าวัตถุมงคล วิธีชำระวัตถุมงคล วิธีบูชาวัตถุมงคล ประวัติวัด ติดต่อวัด เว็บบอร์ด
สมาชิก Log in
อีเมล์
รหัสผ่าน
สมัครสมาชิกใหม่
ลืมรหัสผ่าน
















ค้นหาวัตถุมงคล
 
 
 
หมวดวัตถุมงคล
  เครื่องราง พระอาจารย์ป้อม
  พระเครื่อง พระอาจารย์ป้อม
  พระเครื่อง หลวงพ่อสวัสดิ์
  พระเครื่อง หลวงปู่พิมพ์มาลัย
  พระเครื่อง หลวงพ่อสง่า
วัตถุมงคลของคุณ
รหัสวัตถุมงคล ราคา จำนวน
ยังไม่มีวัตถุมงคลอยู่ในตะกร้า
  • ชำระค่าวัตถุมงคล
  • แก้ไขรายการวัตถุมงคล
  • วิธีสั่งบูชาวัตถุมงคล
  •  

    ความรู้เรื่องเมืองสยาม จากจดหมายเหตุ ลา ลูแบร์ 5
    ความรู้เรื่องเมืองสยาม จากจดหมายเหตุ ลา ลูแบร์ 5
    สถานที่จัดให้ช้างอยู่เพื่อเลือกจับคล้ายสนามเพลาะขนาดกว้างและยาวพอใช้ ใช้ในการพูนดินเป็นพนังขึ้นมา เกือบจะตรงเป็นทางดิ่งทุกด้าน บนเนินดินเป็นที่นั่งชมของคนดู
    ความรู้เรื่องเมืองสยาม จากจดหมายเหตุ ลา ลูแบร์ 4
    ความรู้เรื่องเมืองสยาม จากจดหมายเหตุ ลา ลูแบร์ 4
    สยาม เตียงนอนเป็นแคร่ไม้แคบ ๆ และลาดเสื่อไม่มีพนักหัวเตียง และเสาเตียง บางทีก็มีหกขา แต่ไม่มีเดือยติดกับแม่แคร่ บางทีก็ไม่มีขาเลย แต่คนส่วนใหญ่มิได้ใช้แคร่นอน
    ความรู้เรื่องเมืองสยาม จากจดหมายเหตุ ลา ลูแบร์ 3
    ความรู้เรื่องเมืองสยาม จากจดหมายเหตุ ลา ลูแบร์ 3
    ชั้นนอก พวกขุนนางนอกจากนุ่งผ้าแล้วยังสวมเสื้อครุยมัสลินคลุม (ถึงเข่า) เขาจะเปลื้องมันออกแล้วม้วนพันไว้กับบั้นเอว เมื่อเข้าไปหาขุนนางผู้ใหญ่ที่มียศศักดิ์สูงกว่าตน
    ความรู้เรื่องเมืองสยาม จากจดหมายเหตุ ลา ลูแบร์ 2
    ความรู้เรื่องเมืองสยาม จากจดหมายเหตุ ลา ลูแบร์ 2
    กระดาษ ชาวสยามทำกระดาษจากผ้าฝ้ายเก่า ๆ และยังทำจากเปลือกไม้ชนิดหนึ่งคือ ต้นข่อย ต้องนำมาบดย่อยให้ละเอียด แต่กระดาษเหล่านี้มีความหนาไม่สม่ำเสมอ
    ความรู้เรื่องเมืองสยาม จากจดหมายเหตุ ลา ลูแบร์ 1
    ความรู้เรื่องเมืองสยาม จากจดหมายเหตุ ลา ลูแบร์ 1
    เป็นจดหมายเหตุพงศาวดาร ราชอาณาจักรสยามในปลายรัชสมัยสมเด็จพระนารายณ์มหาราช พ.ศ.๒๒๓๐ ลา ลูแบร์ เป็นอัครราชทูตของพระเจ้าหลุยส์ที่ ๑๔ แห่งฝรั่งเศส ซึ่งเข้ามาทูลพระราชสาส์น ณ ประเทศสยาม
    มวยไทย
    มวยไทย
    มวยไทยเป็นการเล่นพื้นบ้าน ที่มีคุณลักษณะของการต่อสู้ป้องกันตัว ด้วยการใช้อวัยวะในส่วนที่สามารถใช้ทำอันตรายคู่ต่อสู้ได้ มาใช้งานอย่างชาญฉลาด และมีศิลปอย่างสูง เช่น หมัด ศอกแขน เท้า แข้ง
    การเรียนหนังสือไทยสมัยก่อน 5
    การเรียนหนังสือไทยสมัยก่อน 5
    ในปีมะเส็ง พ.ศ. ๒๓๒๘ พระเจ้าปะดุง เจ้ากรุงอังวะเสด็จกรีฑาทัพใหญ่ยกเข้ามาหลายทาง หมายจะตีประเทศไทยให้จงได้ สมเด็จพระพุทธยอดฟ้าจุฬาโลมหาราช ทรงทราบ ก็โปรดให้จัดกองทัพเป็นสี่ทัพแยกย้ายกันไปรบข้าศึก
    การเรียนหนังสือไทยสมัยก่อน 4
    การเรียนหนังสือไทยสมัยก่อน 4
    สรวมสวัสดิวิชัย เกริกกรุงไกรเกรียงยศ เกียรติปรากฏขจรขจาย สบายทั่วแหล่งหล้า ฝนฟ้าฉ่าชุ่มชล ไพศรพณ์ผลพูนเพิ่ม เหิ่มใจราษฎร์บำเทิง รื่นเริงรัฐมณฑล สกลราชอาณาเขต ประเทศสยามชื่นช้อย ทุกข์ขุกเข็ญใหญ่น้อย นาศไร้แรงเกษม โสดเทอญ
    การเรียนหนังสือไทยสมัยก่อน 3
    การเรียนหนังสือไทยสมัยก่อน 3
    วรรณคดีไทยที่ใช้เรียนในชั้นประถมและมัธยมในสมัยก่อน เป็นเรื่องที่มีประโยชน์ เป็นที่รู้กันอย่างแพร่หลาย มีความไพเราะ เป็นคติสอนใจ ดังนั้นแต่ละตอนที่เลือกมาเรียนได้เลือกสรรแล้วว่า
    การเรียนหนังสือไทยสมัยก่อน 2
    การเรียนหนังสือไทยสมัยก่อน 2
    ใช้เป็นบทอาขยานสำหรับชั้นประถม สอนให้รู้จักพฤติกรรมตามธรรมชาติของสิ่งที่อยู่รอบตัวเราทั้งคนและสัตว์ แล้วนำมาสู่คติสอนใจ พฤติกรรมตามธรรมชาติเหล่านั้น และเมื่อแต่งเรื่องออกมาในรูปของกวีนิพนธ์
    การเรียนหนังสือไทยสมัยก่อน 1
    การเรียนหนังสือไทยสมัยก่อน 1
    ระบบการศึกษาของไทย ได้มีการปฏิรูปครั้งใหญ่ในรัชสมัยพระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว เริ่มต้นด้วยการจัดตั้งโรงเรียนหลวงขึ้น และได้ทรงพระกรุณาโปรดเกล้า ฯ ให้ พระยาศรีสุนทรโวหาร (น้อย อาจารยางกูร)
    ยูเนสโกยกย่อง “สมเด็จพระพันวัสสา” เป็นบุคคลสำคัญของโลก
    ยูเนสโกยกย่อง “สมเด็จพระพันวัสสา” เป็นบุคคลสำคัญของโลก
    นายนิพิฏฐ์ อินทรสมบัติ รัฐมนตรีว่าการกระทรวงวัฒนธรรม (วธ.) เปิดเผยว่า ตามที่กระทรวงศึกษาธิการ (ศธ.) ได้แจ้งมายัง วธ.ว่า องค์การศึกษา วิทยาศาสตร์ และวัฒนธรรมแห่งสหประชาชาติ
    รวมภาพงานพระราชทานเพลิงสรีระสังขารหลวงตามหาบัว
    รวมภาพงานพระราชทานเพลิงสรีระสังขารหลวงตามหาบัว
    จากสื่อต่างๆ
    ประทีปแห่งเอเซีย
    ประทีปแห่งเอเซีย
    หนังสือเรื่อง “ประทีปแห่งเอเชีย” ที่ท่านถืออยู่ในมือเล่มนี้ ในการพิมพ์ครั้งก่อน ๆ ใช้ชื่อเรื่องว่า “ประทีปแห่งชมพูทวีป” เป็นสำนวนแปลแบบเก็บความ
    ทิพยอำนาจในพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว
    ทิพยอำนาจในพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว
    เนื่องในมหามงคลสมัยวันฉัตรมงคลที่จะเวียนมาบรรจบครบรอบอีกครั้งหนึ่งในวันอาทิตย์ที่ 5 พฤษภาคม ศกนี้ นับเป็นมหามงคลสมัยที่ปวงชนชาวไทยจะได้ถวายความจงรักภักดี

    มีต่อหน้า >> 1 2 3 4 5 6 7 8 9 10 11 12 13 14 15 16 17 18 19 20 21 22 23 24 25 26 27 28 29 30 31 32 33 34 35 36 37 38 39 40 41 42 43 44 45 46 47 48 49 50 51 52 53 54 55 56 57 58 59 60 61 62 63 64 65 66 67 68 69 70 71
    © Copyright 2011 www.watnongmuang.com All rights reserved 999arch