หน้าแรก สมาชิก รายการวัตถุมงคล ตะกร้าวัตถุมงคล วิธีชำระวัตถุมงคล วิธีบูชาวัตถุมงคล ประวัติวัด ติดต่อวัด เว็บบอร์ด
สมาชิก Log in
อีเมล์
รหัสผ่าน
สมัครสมาชิกใหม่
ลืมรหัสผ่าน
















ค้นหาวัตถุมงคล
 
 
 
หมวดวัตถุมงคล
  เครื่องราง พระอาจารย์ป้อม
  พระเครื่อง พระอาจารย์ป้อม
  พระเครื่อง หลวงพ่อสวัสดิ์
  พระเครื่อง หลวงปู่พิมพ์มาลัย
  พระเครื่อง หลวงพ่อสง่า
วัตถุมงคลของคุณ
รหัสวัตถุมงคล ราคา จำนวน
ยังไม่มีวัตถุมงคลอยู่ในตะกร้า
  • ชำระค่าวัตถุมงคล
  • แก้ไขรายการวัตถุมงคล
  • วิธีสั่งบูชาวัตถุมงคล
  •  

    ประโยคโบราณ ในพระธัมมปทัฏฐกถา
    ประโยคโบราณ ในพระธัมมปทัฏฐกถา
    1. ไหว้ครู ปณามคาถา (ปณามคาถา หน้า 1-2) 2. อิตฺถีสทฺโท สามเณโร เถรํ ยฏฺฐิโกฏิยา ฯเปฯ คจฺฉาม ภนฺเตติ. (จกฺขุปาลตฺเถรวตฺถุ หน้า 14-17)
    ลักษณะการแปล มคธ เป็นไทย
    ลักษณะการแปล มคธ เป็นไทย
    แปลโดยพยัญชนะ คือ การแปลรักษารูปแบบของไวยากรณ์อย่างเคร่งครัด แปลออกสำเนียงวิภัตติอายตนิบาตโดยตลอด ไม่มีการตัดทอนหรือเปลี่ยนแปลงแต่อย่างใด ช่วยให้นักเรียนสังเกตรูปแบบกฏเกณฑ์
    ทุนเล่าเรียนหลวงสำหรับพระสงฆ์ไทย
    ทุนเล่าเรียนหลวงสำหรับพระสงฆ์ไทย
    พระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว ทรงพระอนุสรณ์ คำนึงถึงว่า โดยที่พระภิกษุสามเณรเป็นผู้มีหน้าที่ปฏิบัติตามพระวินัยโดยเคร่งครัด และธำรงรักษา ตลอดจนเผยแผ่พระธรรม คำสอนแก่ประชาชนทั่วไป
    สถานที่อบรมบาลีก่อนสอบสนามหลวง
    สถานที่อบรมบาลีก่อนสอบสนามหลวง
    วัดปากน้ำ เขตภาษีเจริญ กรุงเทพฯ วัดสามพระยา เขตพระนคร กรุงเทพฯ วัดโมลีโลกยาราม แขวงวัดอรุณ เขตบางกอกใหญ่ กรุงเทพฯ วัดสร้อยทอง เขตบางซื่อ กรุงเทพฯ
    โรงเรียนพระปริยัติธรรมแผนกบาลีประจำจังหวัด
    โรงเรียนพระปริยัติธรรมแผนกบาลีประจำจังหวัด
    สถานที่ซึ่งจัดให้มีการเรียนการสอนตามหลักสูตรพระปริยัติธรรมแผนกบาลีของคณะสงฆ์ที่ตั้งขึ้นตามเกณฑ์กำหนดในจังหวัดนั้นๆ โดยแต่ละจังหวัดอาจมีมากกว่า 1 โรงเรียน หรือหลายจังหวัดรวมกันเป็นโรงเรียนเดียวก็ได้
    หลักสูตรการศึกษาบาลีปัจจุบัน
    หลักสูตรการศึกษาบาลีปัจจุบัน
    วิชาแปลมคธเป็นไทย โดยพยัญชนะและโดยอรรถ หลักสูตรใช้หนังสือ ธมฺมปทฏฺฐกถา ภาค 1-4 วิชาบาลีไวยากรณ์ หลักสูตรใช้หนังสือ บาลีไวยากรณ์ประเภทสอบถามความจำ
    การศึกษาพระปริยัติธรรมแผนกบาลี สมัยกรุงรัตนโกสินทร์
    การศึกษาพระปริยัติธรรมแผนกบาลี สมัยกรุงรัตนโกสินทร์
    การจัดการศึกษาพระปริยัติธรรมแผนกภาษาบาลี เป็นพระราชภาระของพระมหากษัตริย์ ทรงจัดให้พระภิกษุสามเณรได้ศึกษาเล่าเรียนตามกำลังสติปัญญา สืบเนื่องเป็นพระราชกรณียกิจมา
    กองบาลีสนามหลวง
    กองบาลีสนามหลวง
    กองบาลีสนามหลวง เป็นหน่วยงานจัดการศึกษาด้านบาลีของคณะสงฆ์ไทย อยู่ภายใต้การดูแลของมหาเถรสมาคม และอยู่ในความอุปถัมภ์ของรัฐบาล โดยมีสำนักงานพระพุทธศาสนาแห่งชาติเป็นผู้รับสนองงาน
    ศัพท์ที่ใช้แทนกันได้ในภาษาบาลี
    ศัพท์ที่ใช้แทนกันได้ในภาษาบาลี
    ปรากฏให้เห็นบ่อย แสดงว่าศัพท์นั้นไม่ค่อยนิยมใช้เท่าใดนัก ดังนั้น การจะใช้ศัพท์ ก็ควรดูที่ความเหมาะสม และความนิยมของศัพท์นั้นๆ
    ประมวลศัพท์บาลีตามหมวดหมู่
    ประมวลศัพท์บาลีตามหมวดหมู่
    ปุงลิงค์ อิตถีลิงค์ ชน ชน ปชา หมู่สัตว์ มหาชน มหาชน มนุสฺสี มนุษย์ผู้หญิง นร คน นารี คน(ผู้หญิง), นาง
    ภาษาบาลี-สันสกฤตในภาษาเขมร
    ภาษาบาลี-สันสกฤตในภาษาเขมร
    ศัพท์ที่เลือกเอามาลง เน้นที่แปลกแตกต่างจากภาษาไทยเอาไว้ก่อน อาจเป็นทางด้านความหมาย เสียง หรืออื่น ๆ และก็เพิ่มเติมไปเรื่อยๆ อีกตามเคย บางคำเป็นคำประสม แต่มีส่วนประกอบที่มาจากภาษาบาลี-สันสกฤต ทุกส่วน
    ภาษาบาลีและสันสกฤต
    ภาษาบาลีและสันสกฤต
    ศาสตราจารย์วิสุทธ์ บุษยกุล กล่าวถึงเหตุที่สมเด็จพระเทพรัตนราชสุดา ฯ สยามบรมราชกุมารี ทรงสนพระทัยภาษาบาลีมาตั้งแต่ทรงพระเยาว์ ว่า “...ไม่สามารถเข้าพระทัยบทสวดมนต์ ที่เป็นภาษาบาลี
    คำบาลีผสมสันสกฤต
    คำบาลีผสมสันสกฤต
    คำที่น่าสนใจอีกคำหนึ่งก็คือคำว่า "ฉิมพลี" อย่างในคำว่า "วิมานฉิมพลี" คำว่า "ฉิมพลี" เป็นคำภาษาอะไร คนส่วนมากก็คิดว่าเป็นคำบาลี ความจริงนั้นคำบาลี คือ "สิมฺพลี" แปลว่า "ไม้งิ้ว" หรือ "สิมพลิวัน" ก็แปลว่า "ป่าไม้งิ้ว"
    ประโยชน์ของภาษาบาลีและสันสกฤต ที่มีต่อภาษาไทย
    ประโยชน์ของภาษาบาลีและสันสกฤต ที่มีต่อภาษาไทย
    บาลีและสันสกฤต เป็นภาษาในตระกูลเดียวกันคือตระกูลอินโด-ยุโรป (Indo-European) ภาษาในกลุ่มนี้ เป็นภาษาที่มีวิภัตติปัจจัย หมายความว่าคำทุกคำ (ยกเว้นจำพวกอัพยยศัพท์) ไม่ว่าจะเป็นคำนามหรือคำกริยา
    หลักการสังเกตคำภาษาบาลีสันสกฤตในภาษาไทย
    หลักการสังเกตคำภาษาบาลีสันสกฤตในภาษาไทย
    สระมี 14 ตัว เพิ่มจากบาลี 6 ตัว คือ ฤ ฤๅ ฦ ฦๅ ไอ เอา (แสดงว่าคำที่มีสระ 6 ตัวนี้จะเป็นบาลีไม่ได้เด็ดขาด)

    มีต่อหน้า >> 1 2 3 4 5 6 7 8 9 10 11 12 13 14 15 16 17 18 19 20 21 22 23 24 25 26 27 28 29 30 31 32 33 34 35 36 37 38 39 40 41 42 43 44 45 46 47 48 49 50 51 52 53 54 55 56 57 58 59 60 61 62 63 64 65
    © Copyright 2011 www.watnongmuang.com All rights reserved 999arch