หน้าแรก สมาชิก รายการวัตถุมงคล ตะกร้าวัตถุมงคล วิธีชำระวัตถุมงคล วิธีบูชาวัตถุมงคล ประวัติวัด ติดต่อวัด เว็บบอร์ด
สมาชิก Log in
อีเมล์
รหัสผ่าน
สมัครสมาชิกใหม่
ลืมรหัสผ่าน
















ค้นหาวัตถุมงคล
 
 
 
หมวดวัตถุมงคล
  เครื่องราง พระอาจารย์ป้อม
  พระเครื่อง พระอาจารย์ป้อม
  พระเครื่อง หลวงพ่อสวัสดิ์
  พระเครื่อง หลวงปู่พิมพ์มาลัย
  พระเครื่อง หลวงพ่อสง่า
วัตถุมงคลของคุณ
รหัสวัตถุมงคล ราคา จำนวน
ยังไม่มีวัตถุมงคลอยู่ในตะกร้า
  • ชำระค่าวัตถุมงคล
  • แก้ไขรายการวัตถุมงคล
  • วิธีสั่งบูชาวัตถุมงคล
  •  

    การเลี้ยงกระต่าย-3
    กระต่ายที่โตแล้วสามารถที่จะดูเพศได้อย่างชัดเจน โดยที่ตัวผู้จะเห็นลูกอัณฑะ อยู่นอกช่องท้องชัดเจน และตัวเมียเห็นอวัยวะเพศอยู่ใต้ทวารหนัก แต่การดูเพศใน ลูกกระต่ายนั้นจะต้องอาศัยความชำนาญ ความแม่นยำทางสายตาและแสงสว่างที่ เพียงพอ ลูกกระต่ายที่จะดูเพศได้อย่างชัดเจน ควรมีอายุเกิน 2 สัปดาห์

     

    วิธีการ จับลูกกระต่ายนอนหงายในฝ่ามือ ใช้นิ้วมือและนิ้วหัวแม่มือของอีก มือหนึ่งลูบและกดเบา ๆ ที่ข้าง ๆ อวัยวะเพศ จะเห็นอวัยวะเพุศอยู่เหนือทวารหนัก ถ้าเห็นเป็นแท่งกลมยี่นออกมาแสดงว่าเป็นตัวผู้ ส่วนตัวเมียจะเห็นเป็นรอยผ่ายาว จนเกือบถึงทวารหนัก
    1. โรคกระต่าย
    เป็นปัญหาที่ทำให้เกิดความเสียหายในการเลี้ยงกระต่ายเสมอไม่ว่าจะเลี้ยงกระต่ายมาก น้อยเท่าใด หรือมีการจัดการที่ดีเพียงใดก็ตาม การที่จะควบคุมโรคกระต่ายให้ได้ผลดีควรเน้นที่ การป้องกันไม่ให้เกิดโรคขึ้น และรักษาตั้งแต่กระต่ายเริ่มป่วยเพื่อลดการแพร่ระบาดของโรคและ ประหยัดค่ารักษา

    สาเหตุของโรคมีทั้งสาเหตุที่เกิดจากตัวกระต่ายเองและสาเหตุภายนอกชึ่งสาเหตุต่างๆ นั้นอาจจำแนกได้ดังนี้
    1.1 สภาพแวดลอมที่ไม่เหมาะสม เช่น ใกล้แหล่งเชื้อโรค มีพาหะของเชื้อโรคมาก อากาศที่ร้อนชื้น การระบายอากาศที่ไม่ดีเป็นต้น
    1.2 อาหารและน้ำที่ใม่เพียงพอหรือมีสิ่งเจือปนที่เป็นพิษต่อกระต่าย
    1.3 พันธุกรรม โรคหรือลักษณะทางพันธุกรรมบางอย่างสามารถถ่ายทอดไปยังลูกได้ เช่น ลักษณะฟันยื่น
    ลักษณะกระต่ายฟันยื่น

    1.4 เชื้อโรค ได้แก่ แบคทีเรีย ไวรัส โปรโตชัว พยาธิ เห็บ หมัด เหา ไร เป็นสาเหตุที่ เด่นชัดและพบได้เป็นประจำ

     

    2. การป้องกันโรค
    ทำได้โดยพยายามลดสาเหตุของโรคให้เหลือน้อยที่สุดได้แก่

    2.1 เลือกชื้อกระต่ายที่แข็งแรงและปลอดโรคมาเลี้ยง
    2.2 ดูแลกระต่ายให้อยู่สภาพที่สบาย สะอาด ได้รับอาหารและน้ำเพียงพอ ไม่ร้อนเกินไป และมีอากาศถ่ายเทสะดวก
    2.3 หมั่นตรวจและสังเกตุลักษณะอาการของกระต่ายเป็นประจำ ถ้าพบกระต่ายป่วย ควรแยกไปเลี้ยงในที่เฉพาะและทำการรักษาทันที ถ้าไม่สามารถรักษาได้ควรรีบปรึกษาสัตวแพทย์ ส่าหรับกระต่ายตัวอื่นที่ยังไม่ป่วยควรดูแลเป็นพิเศษและทำความสะอาดโรงเรือนให้บ่อยขี้น
    2.4 ไม่ควรใช้ยาเอง ถ้าไม่มีความรู้เพียงพอ ถ้าจะใช้ยาเองควรทำตามคำแนะนำของ สัตวแพทย์ และไม่ควรใช้ยาโดยไม่จำเป็นเพราะจะทำให้เชื้อโรคตื้อยาได้

    1. กระต่ายกินน้ำตายจริงหรือไม่ ?

    ปกติแล้วกระต่ายเป็นสัตว์ที่มีความต้องการน้ำเช่นเดียวกับสัตว์ชนิดอื้น ๆ ถ้ากระต่ายได้รับ น้ำน้อย จะทำให้เติบโตช้า แต่การที่คนส่วนใหญ่เห็นว่ากระต่ายที่เลี้ยงกันนั้นไม่ได์ไห้น้ำเลยให้แต่ผัก หญ้า ก็ยังเห็นกระต่ายปกติดี เนื่องจากว่าในผักและหญ้านั้นมีน้ำมากเพียงพอที่จะทำให้กระต่าย มีชีวิตอยู่ได้ แต่ถ้าให้น้ำเพิ่มด้วยจะทำให้กระต่ายเติบโตเร็วยิ่งขึ้น การที่กระต่ายกินน้ำแล้วตาย อาจเนื่องมางากภาธนะที่ใส่น้ำเป็นชามที่กระต่ายสามารถทำล้มได้ง่ายทำให้น้ำหกเจิ่งนองพื้น ซึ่งจะทำให้กระต่ายเป็นหวัดหรือปอดบวม และมีโรคอื่น ๆ แทรกช้อนจนทำให้ตายได้

    2. จับท้องกระต่ายจะทำให้กระต่ายตายจริงหรือไม่ ?

    การจับกระต่ายที่ถูกวิธีและทำด้วยความนุ่มนวลโอกาสที่กระต่ายจะตายนั้นมีน้อยมาก แต่สัญชาติญาณของกระต่ายเมื่อโดนจับบริเวณท้องมันก็จะดิ้น คนที่จับไม่เป็นหรือไม่รู์โดยเฉพาะ เด็ก ๆ เมื้อเห็นมันดิ้นก็จะยิ่งจับหรือบีบให้แน่นยิ่งขื้นเพราะกลัวว่ากระต่ายจะหลุดจากมือ ทำให้อวัยวะภายใน ด้รับอันตรายจนกระทั่งกระต่ายช๊อคตายได้

    3. ทำใมกระต่ายสีขาวจะมีตาสีแดง?

    การที่กระต่ายจะมีตาสีอะไรขี้นกับเม็ดสี(Pigment) ที่อยู่ในตา แต่ในกระต่ายสีขาวเช่น พันธุ์นิวซีแลนด์ไวท์หรือแคลลิฟอร์เนียน ไม่มีเม็ดสี ทำให้เห็นเส้นเลือดสีแดงในตาซึ่งจะ สะท้อนแสงให้เราเห็นตากระต่ายเป็นสีแดง ส่วนในกระต่ายพันธุ์พื้นเมืองนั้นมีตาสีดำ เุนื่องจากมันมีเม็ดสีเุป็นสีดำในตานั่นเอง

    4. กระต่ายเป็นสัตว์ทื่จัดอยูในกลุ่มสัตว์ฟันแทะเช่นเดียวกับหนูใช่หรือไม่ ?

    แต่ก่อนนักสัตววิทยาได้จัดให้กระต่ายอยู่ในกลุ่มสัตว์ฟันแทะเช่นเดียวกับหนู ต่อมาได้พบว่ากระต่ายกับหนูนั้นมีข้อแตกต่างกันที่กระต่ายมีฟันตัดหน้าบน 4 ชี่ ส่วนหนู มีเพียง 2 ชี่ ทำให้มีการจัดกลุ่มใหม่ โดยให้กระต่ายอยู่ในอันดับกระต่าย (Order Lagomorpha) และหนูจัดอยู่ในอันดับสัตว์ฟันแทะ (Order Rodentia)

    5. ทำไมช่วงที่อากาศร้อนจัด ๆ กระต่ายถืงปช็อคตาย ?

    เนื่องจากกระต่ายเป็นสัตว์ที่ไม่มีต่อมเหงื่อ ทำให้การระบายความร้อนเป็นไปได้ยาก ในช่วงที่อากาศร้อน ๆ กระต่ายจะหายใจถี่ขึ้น โดยสังเกตุที่จมูกจะ สั่นเร็วขึ้น และมีการ ระบายความร้อนที่เส้นเลือดแดงใหญ่กลางหูมากขึ้น แต่ก็ยังระบายความร้อนไม่ทันทำให้ อุณหภูมิในร่างกายสูงมากจนถึงขั้นทำให้ช๊อคตายได้
    ตารางที่ 6 ค่าทางสรีรวิทยาของกระต่าย
    ข้อมูล ค่า
    ช่วงชีวิต 5-13 ปี
    วัยเจริญพันธุ์ 4-6 เดือน
    อายุที่เหมาะสำหรับผสมพันธุ์ 6-8 เดือน
    วงรอบการเป็นสัด 16 วัน
    ระยะเวลาตั้งท้อง 29-35 วัน
    อายุหย่านม 6-8 สัปดาห์
    จำนวนโครโมโซม 22 คู่
    อุณหภูมิร่างกาย 101.5 +/- 1 องศาฟาเรนไฮท์
    อัตราการหายใจ 35-65 ครั้ง/นาที
    อัตราการเต้นของหัวใจ 120-300 ครั้ง/นาที

    • Update : 27/8/2554
    © Copyright 2011 www.watnongmuang.com All rights reserved 999arch